ดุจเพชร
ผู้ออกแบบแสงควรมีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบของการจัดแสงในทุก ๆ ด้าน รวมถึงหลักการไฟฟ้าเบื้องต้น เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ สามารถคำนวณการใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสมกับขีดความสามารถของกระแสไฟสำรองภายในโรงละครแต่ละแห่งได้ การใช้ไฟฟ้าต้องระมัดระวังไม่ประมาทแม้แต่น้อย ผู้ออกแบบแสงต้องเป็นผู้มีประสบการณ์เกี่ยวกับไฟฟ้าเป็นอย่างดี พอที่จะแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ด้วยตัวเอง ต้องสามารถทำการตรวจเช็คอุปกรณ์เชื่อมต่อต่าง ๆ ว่าอยู่ในสภาพเรียบร้อย มั่นคง ไม่หลวม หรือชำรุด ต้องทราบได้ว่าตนเองสามารถใช้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในแต่ละวงจรจำนวนสูงสุดไม่เกินเท่าใด เพื่อมิให้เกิดปัญหากับระบบการทำงานของอุปกรณ์แสงชนิดต่าง ๆ และระบบไฟฟ้าทั้งวงจรในระหว่างการแสดง
ฝ่ายแสงกับการซ้อมและการแสดง/LIGHTING REHEARSAL AND PERFORMANCE PROCEDURES.
ผู้จำหน่ายและให้เช่าระบบแสง/SALE AND RENT LIGHTING SYSTEM.
ไดโอดเปล่งแสง-ยุคใหม่ของการจัดแสง/LED-THE NEW ERA OF LIGHTING TECHNOLOGY.
การจัดแสงล่วงหน้าลงพื้นที่การแสดง/LIGHTING THE ACTING AREAS IN ADVANCE.
ขั้นตอนการออกแบบแสง/STAGE LIGHTING DESIGN PROCESS.
การออกแบบแสงเพื่อการแสดงบนเวที/STAGE LIGHTING DESIGN.
หลักการจัดแสงลงพื้นที่การแสดง/ LIGHTING FOR ACTING SPACE.
ทิศทางและมุมของแสง/STAGE LIGHTING POSITIONS AND ANGLES
ทฤษฏีสีกับการออกแบบแสง/THEORY OF COLOR FOR STAGE LIGHTING DESIGN
อุปกรณ์ควบคุมระดับแสง/INTENSITY CONTROL FOR STAGE LIGHTING
ระบบถ่วงน้ำหนักสมดุล/ THEATRICAL RIGGING SYSTEM
อุปกรณ์เครื่ืองให้แสงสว่างสำหรับเวที/STAGE LIGHTING INSTRUMENT
การจัดแสงด้วยความปลอดภัย/ ELECTRICAL SAFETY FOR STAGE LIGHTING
อุปกรณ์เครื่ืองให้แสงสว่างสำหรับเวที/STAGE LIGHTING INSTRUMENT
เจ้าหน้าที่ฝ่ายแสงและหน้าที่ประกอบงาน / STAGE LIGHTING PRODUCTION TEAM
ประวัติการจัดแสงสำหรับเวที: HISTORY OF STAGE LIGHTING
จุดมุ่งหมายในการจัดแสงสำหรับเวที/THE PURPOSE OF LIGHTING FOR THE STAGE
ภาพร่างสีน้ำกับการออกแบบฉาก/WATER COLOR SKETCH FOR SCENIC DESIGN
องค์ประกอบศิลป์ในการออกแบบฉาก/PRINCIPLES OF SCENIC DESIGN